1. Organizing data in a traditional file environment
File Organization Terms and Concepts
File Organization concepts เรียงลำดับจากเล็กสุดไปใหญ่สุด
1. Bit แสดงให้เห็นหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล 0 (off),1 (on)
2. Byte คือ bit รวมกัน 2 ตัวขึ้นไปกลายเป็นอักขระ ตัวอักษร ตัวเลข symbol
3. Field (เขตข้อมูล) คือ ตัวอักษรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปรวมกันกลายเป็นคำที่มีความหมาย เช่น ชื่อ , ที่อยู่ , สิ่งของ , อายุ
4. Record (ระเบียน) คือ การรวมของ Field กลายเป็นเรื่องๆหนึ่ง
5. File (แฟ้มข้อมูล) คือ กลุ่มข้อมูลที่เก็บรายการที่เกี่ยวข้องกัน อ้างอิงเรื่องเดียวกันนำรวมกัน อาทิเช่น ตารางข้อมูลนักศึกษา, ตารางข้อมูลอาจารย์/เจ้าหน้าที่, ตารางข้อมูลอาคาร/สถานที่, ตารางข้อมูลการจัดตารางการสอน
6. ฐานข้อมูล (Database) คือ แหล่งจัดเก็บและรวบรวมกลุ่มข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน สัมพันธ์กัน เป็นส่วนของข้อมูลที่อยู่ในองค์กรในระบบเดียวกัน
คุณสมบัติของฐานข้อมูล
- แหล่งเก็บข้อมูลขนาดใหญ่โดยปกติมักจะมีกลุ่มเดียว
- มักกำหนดเพียงครั้งเดียวเท่านั้น
- ข้อมูลจะถูกรวบรวมไว้ด้วยกันเพื่อให้เกิดความซ้ำซ้อนน้อยที่สุด
- ข้อมูลทรัพยากรสามารถร่วมกันได้หลายหน่วยงานภายใต้องค์กรเดียวกันไม่เป็นของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง
Traditional File Processing
ข้อมูลโปรแกรมการพึ่งพา หมายถึง การเชื่อมต่อของข้อมูลที่เก็บไว้ในไฟล์ และโปรแกรมเฉพาะ ต้องปรับปรุง และรักษาไฟล์เหล่านั้น
2. The Database Approach to Data Management
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล คือ การจัดเก็บข้อมูลที่มีปริมาณมากๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งการเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลแต่ละแฟ้มอาจเกิดปัญหาข้อมูลซ้ำซ้อนกัน และเมื่อมีการแก้ไขข้อมูลที่มีอยู่หลายที่จนทำให้ข้อมูลมีความขัดแย้งกันเอง จึงได้มีการเปลี่ยนการจัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในรูปของฐานข้อมูลแทนเพื่อความสะดวกในการบันทึกข้อมูล แก้ไขข้อมูล และค้นหาข้อมูล
DATABASE MANAGEMENT SYSTEMS
ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DATA BASE MANAGEMENT SYSTEM: DBMS) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย และจำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญ
ระบบการจัดการฐานข้อมูลช่วยแก้ปัญหาด้าน
1. ลดความยุ่งยากจากการประมวลผลกับระบบแฟ้มข้อมูล
2. ทำให้แฟ้มข้อมูลมีความเป็นอิสระ
3. ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล
4. แฟ้มข้อมูลมีความถูกต้องของข้อมูลมากขึ้น
5. แฟ้มข้อมูลมีความปลอดภัยมากขึ้น
2. ทำให้แฟ้มข้อมูลมีความเป็นอิสระ
3. ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล
4. แฟ้มข้อมูลมีความถูกต้องของข้อมูลมากขึ้น
5. แฟ้มข้อมูลมีความปลอดภัยมากขึ้น
RELATIONAL DBMS
ความสามารถของการจัดการระบบฐานข้อมูล คือ สามารถค้นหาข้อมูลและนำข้อมูลมาทำรีพอร์ทได้ง่าย
การออกแบบฐานข้อมูล ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน
1. เก็บรวบรวมข้อมูลรายละเอียดทั้งหมด
2. กำหนดโครงสร้างของ TABLE
3. กำหนดคีย์
4. การทำ NORMALIZATION
5. กำหนดความสัมพันธ์
USINGDATABASES TO IMPROVE BUSINESS PERFORMANCE AND DECISION MAKING(การใช้งาน ฐานข้อมูลเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของธุรกิจและการตัดสินใจ)
AN ENTITY-RELATIONSHIP DIAGRAM
DATA WAREHOUSE
Data Warehouse คือ ที่เก็บข้อมูลที่มีประโยชน์ มีการจัดสรร การจัดเก็บ มีหลายมิติ เช่น ช่วงเวลา ตรงนี้ก็ต้องตรงกับ Business Logic และวัตถุประสงค์ของแอพพลิเคชั่นที่จะนำมาใช้ เพื่อให้สอดคล้อง Data Warehouse ถูกออกแบบมา เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในทุกส่วนขององค์กรธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลเก่าและใหม่โดยไม่มีการลบข้อมูลเก่าทิ้งทั้งที่ไม่จริงในปัจจุบันก็ตาม
MANAGING DATA RESOURCES
นโยบายและขั้นตอนสำหรับการจัดการข้อมูล
- ESTABLISHING AN INFORMATION POLICY(การจัดทำนโยบายข้อมูล)
ช้อมูลเป็นทรัพยากรที่สำคัญ จำเป็นต้องมีวิธีการที่ข้อมูลจะได้รับการจัดเก็บรักษาและการเข้าถึงข้อมูลโดยวิธีทีการที่ถูกต้อง
- ENSURING DATA QUALITY(การรักษาคุณภาพข้อมูล)
การออกแบบฐานข้อมูลและนโยบายข้อมูลที่ดีจะสามารถช่วยให้ธุรกิจของเรามีข้อมูลที่ต้องการ
HANDS-ON MIS PROJECTS
อุตสาหกรรมของคุณต้องการที่จะสร้างคลังข้อมูลที่การจัดการสารถแยกแยะข้อมูลได้ในทิศทางที่เราต้องการและสามารถนำมาประกอบการตัดสินใจ โดยการขายและ ข้อมูลสินค้าจะถูกเก็บไว้ในระบบที่แตกต่างกัน: ระบบแผนกการขายจะถูกจัดการโดยใช้เซิฟเวอร์ UNIX และ ระบบองค์การจะถูกจัดการโดย IBM MAINFRAME ซึ่งจะสร้างเป็นมาตรฐานเดี่ยวกันเพื่อที่จะรวมข้อมูลทั้งสองระบบ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น