ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

CHAPTER 4 : Ethical and Social Issues in Information Systems


ความเข้าใจประเด็นด้านจริยธรรมและด้านสังคมที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ

มุมมองที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรม สังคมและการเมือง
     

       1. ทัศนะทางจริยธรรม 5 ประการของยุคสารสนเทศ

           1.1) Information rights and Obligations : สิทธิด้านสารสนเทศและพันธะหน้าที่ 
           1.2) Property rights and obligations : สิทธิของทรัพย์สิน
           1.3) Responsibility in duty and control : ความรับผิดชอบในหน้าที่และการควบคุม
           1.4) System quality : คุณภาพระบบ
           1.5) Quality of life : คุณภาพชีวิต

      2. แนวโน้มของเทคโนโลยีที่สำคัญที่ทำให้เกิดประเด็นทางจริยธรรม

          2.1) Multiply the ability to calculate : การทวีคูณของความสามารถในการคำนวณ
          2.2) Storage progress : ความก้าวหน้าของที่เก็บข้อมูล
          2.3) Advances in data penetration techniques in large database : ความก้าวหน้าในเทคนิคการเจาะข้อมูลในฐานข้อมูลขนาดใหญ่
          2.4) Advances in telecommunication infrastructure : ความก้าวหน้าในโครงสร้างพื้นฐานของโทรคมนาคม 

จริยธรรมในสังคมสารสนเทศ 

       1. แนวคิดพื้นฐาน 3 ประการเกี่ยวกับจริยธรรมในสังคมสารสนเทศ
           1.1) ความรับผิดชอบ : เป็นลักษณะเฉพาะของบุคคลและเป็นองค์ประกอบหลักในการกระทำในด้านจริยธรรม
           1.2) ภาระหน้าที่ : เป็นลักษณะของระบบและสถาบันทางสังคม ซึ่งเป็นกลไกที่เป็นตัวกำหนดว่าใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในการกระทำ
           1.3) ภาระความรับผิดชอบ : เป็นลักษณะของระบบทางการเมือง คือ ข้อกำหนดตามกฎหมายที่ให้บุคคลชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นกับบุคคลอื่น
           1.4) กระบวนการในการยื่นอุทรธ์ : เป็นลักษณะที่เกี่ยวข้องกับสังคมที่ใช้กฎหมายในการปกครอง
       2. วิเคราะห์จริยธรรม 5 ขั้นตอน
            2.1) ระบุอธิบายข้อเท็จจริงได้อย่างชัดเจน
            2.2) กำหนดประเด็นความขัดแย้งและอธิบายถึงค่านิยมระดับสูงที่จัดว่ามีความเกี่ยวข้อง
            2.3) ชี้ให้เห็นกลุ่มผู้ได้รับประโยชน์
            2.4) ชี้ให้เห็นทางเลือกที่สามารถเลือกได้อย่างสมเหตุสมผล
            2.5) ชี้ให้เห็นผลลัพธ์ที่จะเป็นไปได้จากทางเลือก
หลักการทางจริยธรรม
      3. หลักการทางจริยธรรมต่างๆ :เป็นหลักการใช้ในการตัดสินหลังจากทำการวิเคราะห์ทางด้านจริยธรรม เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสิน
      4. จรรยาบรรณวิชาชีพ
      5. อุปสรรคบางอย่างทางจริยธรรม

ขอบเขตคุณธรรมของระบบสารสนเทศ

      1. สิทธิทางด้านสารสนเทศ (Information Rights)

          1.1) Internet Challenges to Privacy




           1.2) Technical Solution (P3P)

                เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยปกป้องความเป็นส่วนตัวทางด้านกายภาพ คือ สามารถป้องกัน Spyware หรือป้องกันการรับไฟล์ cookies ของเครื่องได้

    2. สิทธิในการเป็นเจ้าของ (Property Rights)

        2.1) Trade Secrets : ความลับทางการค้าหรือผลผลิตทางปัญญา
        2.2) Copyright : สิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ริเริ่มโดยการใช้สติปัญญาความรู้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตนเองในการสร้างสรรค์
        2.3) Patents : สิทธิบัตรเพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด

     3. ความรับผิดชอบและการควบคุม
     4. คุณภาพชีวิต
         4.1) ระบบสารสนเทศเข้ามามีอิทธิพลมากขึ้น
         4.2) ระบบสารสนเทศช่วยสร้างตลาดนานาชาติที่มีประสิทธิภาพ
         4.3) การกระทำผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์้เป็นเครื่องมือ
         4.4) ระบบมีจุดอ่อน
         4.5) มีช่องว่างระหว่างครอบครัวที่มีรายได้สูงกับครอบครัวที่มีรายได้น้อยกว่าในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
         4.6) Health Risks : RSI, CVS and Technostress

                 RSI : โรคที่เกิดจากกล้ามเนื้อบางส่วนถูกใช้งานในลักษณะเดิมๆ นานเกินไป
                 CVS : อาการเพลียตาซึ่งเกิดจากการจ้องที่จอคอมพิวเตอร์นานเกินไป

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

CHAPTER 5 : IT Infrastructure and Emerging Technologies

IT INFRASTRUCTURE      1. การกำหนดโครงสร้างพื้นฐานด้านไอที   ประกอบไปด้วยชุดอุปกรณ์ที่จับต้องได้และแอพพลิเคชันซอร์ฟแวร์ที่จำเป็นในการดำเนินงานภายในองค์กร รวมทั้งมนุษย์และความสามารถทางด้านเทคนิค 2. วิวัฒนาการของโครงสร้างพื้นฐานด้านไอที ขั้นตอนวิวัฒนาการของโครงสร้างพื้นฐานด้านไอที 1. Mainframe/Minicomputer (1959-ปัจจุบัน) 2. คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ( 1981- ปัจจุบัน) 3. Server ลูกค้า (1983-ปัจจุบัน) 4. คอมพิวเตอร์ขององค์กร (1992-ปัจจุบัน) มีการนำ Server และ internet ขององค์กรเข้ามาใช้ 5. Cloud และ Mobile (2000-ปัจจุบัน) 3. เทคโนโลยีที่ใช้ในการขับเคลื่อนวิวัฒนาการโครงสร้างพื้นฐาน          3.1)  กฎของมัวร์และกำลังประมวลผลของไมโครโพรเซสเซอร์ (Moore’s Law and Microprocessing Power )         กอร์ดอน มัวร์ (Gordon E. Moore) เขาได้อธิบายกฎนี้ไว้ในรายงานของเขาเมื่อปี 1965 รายงานนั้นได้ระบุไว...

CHAPTER 7 : Telecommunications, the Internet, and Wireless Technology

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1 .คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป 2. องค์ประกอบหลักในเครือข่ายแบบง่าย -คอมพิวเตอร์ไคลเอ็นต์และเซิร์ฟเวอร์ -อินเทอร์เฟซเครือข่าย (NIC) -สื่อการเชื่อมต่อ -ระบบปฏิบัติการเครือข่าย -ฮับ,สวิตช์,เราเตอร์ 3. ระบบเครือข่ายที่กำหนดโดยซอฟต์แวร์ (SDN) -หน้าที่ของสวิตช์และเราเตอร์ที่ได้รับการจัดการโดยโปรแกรมส่วนกลาง องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างง่าย จากภาพคือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เรียบง่ายประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่อาศัย อยู่บนคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์เฉพาะสาย (สาย) การเชื่อมต่ออุปกรณ์การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (NIC) Switch และ Router เครือข่ายใน บริษัท ขนาดใหญ่ 1. มีหลายร้อยเครือข่ายท้องถิ่น (LANs) ที่เชื่อมโยงกับเครือข่ายของ บริษัท ทั่วโลก 2. ระบบเซิร์ฟเวอร์ที่มีประสิทธิภาพต่างๆ -เว็บไซต์ -อินทราเน็ต บริษัท เอ็กซ์ทราเน็ต -ระบบหลังบ้าน 3. ระบบเครือข่ายไร้สายเคลื่อนที่ (Wi-Fi networks) 4. ร...